มาดูตำแหน่งใดบ้าง ที่งบชาติต้องจ่าย...ในร่างปรับปรุง กฎหมายระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา พ.ศ...

 

มาดูตำแหน่งใดบ้าง ที่งบชาติต้องจ่าย...ในร่างปรับปรุง กฎหมายระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา พ.ศ...

 

จากการประชุมคณะทำงานพิจารณากฎหมายลำดับรองที่สอดคล้องกับ ร่างพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ....ครั้งที่ ๑/๒๕๖๖ เมื่อวันที่ ๒๓ มกราคม  ณ สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา...

 

โดยที่เป็นการสมควรปรับปรุงกฎหมายว่าตัวระเบียบข้าราชการครูและบุคสากรทางการศึกษา

 

มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินี้เรียกว่า "พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา พ.ศ.....

 

มาศรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ ให้ใช้บังคับตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป

 

มาตรา ๓ ให้ยกเลิก

 

() พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา พ.ศ.๒๕๔๗

(๒) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา (ฉบับที่ ๒) พ.ศ.๒๕๕๓

(๓) พระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูและบุคลารทางการศึกษา (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๕๓

(๔) คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๖/๒๕๖o เรื่อง การบริหารงานบุคคลของข้าราชการครูและบุศสากรทางการศึกษา ลงวันที่ ๒๑ มีนาคม พุทธศักราช ๒๕๖o

(๕) คำสั่งหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ ๑๙/๒๕๖o เรื่อง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ สงวันที่ ๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๖o ข้อ ๘ (๑) เฉพาะส่วนที่เกี่ยวกับกฎหบายว่าด้วย ระเบียบข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ข้อ ๙ และ ข้อ ๑๓

 

มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้

*ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา* หมายความว่า บุคคลซึ่งใด้รับการบรรจุและแต่งตั้ง

ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้รับราชการโดยได้รับเงินเดือนจากเงินงบประมาณแผ่นดิน งบบุคลากรที่จ่ายในสักษณะเงินเดือนในกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงวัฒนธรรม หรือกระทรวงอื่นที่กำหนดในพระราชกฤษฎีทา

 

"ข้าราชการครู* หมายควมว่า ผู้ที่ประกอบวิชาชีพซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการเรียนการสอน

และส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยวิธีการต่าง ๆ ในสถาบศึกษาของรัฐ

 

"คณาจารย์" หมายความว่า บุคลากรซึ่งทำหน้าที่หลักทางด้านการสอนและการวิจัยในสถานศึกษา

ระดับอุดมศึกษาระดับปริญญาของรัฐ

 

*บุคลากรทางการศึกษา" หมายความว่า ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา รวมทั้งผู้สนับสนุนการศึกษาซึ่งเป็นผู้ทำหน้าที่ให้บริการ หรือปฏิบัติงานกี่ยวเนื่องกับการจัดกระบวนการเรียนการสอน การนิเทศ การบริหารการศึกษา และปฏิบัติงานอื่นในหน่วยงานการศึกษา

 

"วิชาชีพ" หมายความว่า วิชาชีพครู วิชาชีพผู้บริหารสถานศึกษา วิชาชีพผู้บริหารการศึกษา และ

วิชาชีพบุคลากรทางการศึกษาอื่น

 

"เขาพื้นที่การศึกษา" หมายความว่า เขตพื้นที่การศึกษาตามประกาศกระทรวง

 

*หน่วยงานการศึกษา" หมายความว่า

(๑) สถานศึกษา

(๒) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

() สำนักงานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

(๔) แหล่งการเรียนรู้ตามประกาศของสำนักงานขตพื้นที่การศึกษา

(๕) สำนักงานศึกษาธิการภาค

(๖) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

(๗) หน่วยงานตามฎหมายว่าด้วยระเบียบบริหารราชการกระทรวงศึกษาธิการหรือตามประกาศ

กระทรวง หรือหน่วยงานที่คณะกรรมการข้าราชการาชครูและบุคลากรทางการศึกษากำหนด

 

“สถานศึกษา” หมายความว่า สถานพัฒนาเด็กปฐมวัย โรงเรียน ศูนย์การศึกษาพิเศษ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ศูนย์การเรียน วิทยาลัย วิทยาลัยชุมชน สถาบัน หรือสถานศึกษาที่เรียกชื่อย่างอื่นของรัฐที่มีอำนาจหน้าที่หรือมีวัดถุประสงค์ในการจัดการศึกษาดามกฎหมายว่าด้วยการศึกษาแห่ชาติและตามประกาศกระทรวง

 

*ส่วนราชการ" หมายความว่า หน่วยงานของรัฐที่มีฐานะเป็นกรมหรือเทียบเท่ากรม

 

"หัวหน้าส่วนราชการ" หมายความว่า ปลัดกระทรวง อธิการ อธิบดี หรือตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่า

 

"กระทรวง" หมายความว่า กระทรวงศึกษาธิการ

 

*รัฐมนตรีเจ้าสังกัด" หมายความว่า รัฐมนตรีว่าการกระทรวงในกระทรวงที่มีข้าราชการครูและ

บุคลากรทางการศึกษาอยู่ในสังกัด

 

"รัฐมนตรี" หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตาบพระราชบัญญัตินี้

 

มาตรา ๕ บรรดาคำว่า "ข้าราชการพลเรือน" ที่มีอยู่ในกฎหมาย ประกาศ ระเบียบ และข้อบังคับ

ระเบียบ หรือข้อบังคับอื่นใดที่บัญญัติไว้สำหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาโดยเฉพาะ

 

มาตรา ๖ ให้รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการ รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

ข้ามไปที่

 

มาตรา ๔๔ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจได้รับเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งในบางท้องที่ หรือบางสภาพการทำงาน ตำเหน่งในบบางสายงาน หรือตำเหน่งที่มีเหตุพิเศษ ตามระเบียบที่ ก.ศ.ศ. กำหนดโดยความเห็นขอบของคณะรัฐมนตรี

 

มาตรา ๔๕ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา อาจใด้รับเงินเพิ่มค่าครองชีพชั่วคราว

ตามภาวะะเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่กำหนดในพระราชกฤษฎีกา

 

มาตรา ๔๖ วันเวลาทำงาน วันหยุดราชการตามประเพณี วันหยุดราชการประจำปี และการลาหยุดราชการของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาให้เป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด ในกรณี ก.ค.ศ.ยังมิได้กำหนด ให้นำหลักเกณฑ์ที่เที่ยวกับเรื่องดังกล่าวนี้ใช้กับข้าราชการพลเรือนมาใช้บังคับโดยอนุโลม

 

มาตรา ๔๗ เครื่องแบบของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาและระเบียบการแต่งเครื่องแบบให้เป็นไปตามกฎหมายหรือระเบียบว่าด้วยการนั้น

 

มาตรา ๔๘ บำเหน็จบำนาญข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ให้เป็นไปตมกฎหมายว่าด้วยการนั้น

 

 

 

หมวด ๔

การกำหนดตำแหน่ง วิทยฐานะ และการให้ได้รับเงินเดือน เงินวิทยฐานะ และเงินประจำตำแหน่ง

 

มาตรา ๔๙ ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มี ๓ ประเภท ดังนี้

 

ก. ตำแหน่งซึ่งมีหน้าที่เป็นผู้สอนในหน่วยงานการศึกษา ได้แก่ ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

 

(๑) ครูผู้ช่วย

() ครู

(๓) อาจารย์

(๔) ผู้ช่วยศาสตราจารย์

() รองศาสตราจารย์

(๖) ศาสตราจารย์

ตำแหน่งใน (๓) และ (๒) จะมีในหน่วยงานการศึกษาใดก็โด้ ส่วนตำแหน่งใน (๓) ถึง (๖) ให้มีใน

หน่วยงานการศึกษาที่สอนระดับปริญญา

 

ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษาและผู้บริหารการศึกษา ได้แก่ ตำแหน่ง ดังต่อไปนี้

 

(๑) รองผู้อำนวยการสถานศึกษา

(๒) ผู้อำนวยการสถานศึกษา

(๓) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

๔) ผู้อำนวยการสำนักงานเขดพื้นที่การศึกษา

(๕) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด

(๖) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัด

(๗) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กรุงเทพมหานคร

(๘) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กรุงทพมหานคร

(๙] ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอ

(๑๐] รองผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด

(๑๑) ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัด

(๑๒) ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

ตำแหน่งผู้บริหารใน (๑) และ (๒) ให้มีในสถานศึกษาและหน่วยงานการศึกษาตามประกาศ

กระทรวง ตำแหน่งผู้บริหารใน (๑) และ (๔)  ให้มีในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

 

ตำแหน่งผู้บริหารในหน่วยงานการศึกษาที่สอนระดับปริญญา การกำหนดระดับตำแหน่ง การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่ง ให้นำกฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในสถาบันอุดมศึกษามาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่ ก.ค.ศ.จะทำหนดไว้เป็นอย่างอื่น

 

ค. ตำแหน่งบุคลากรทางการศึเษาอื่น มียังต่อไปนี้

 

(๑) ศึกษานิเทศก์

(๒) รองศึกษาธิการจังหวัด ศึกษาธิการจังหวัด ตำเหน่งที่เรียกชื่ออย่างอื่นตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด หรือตำเหน่งของข้าราชการที่ ก.ค.ศ. นำมาใช้กำหนดให้เป็นตำเหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามพระราชบัญญัตินี้

 

การกำหนดระดับตำแหน่ง และ การให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของตำแหน่งบุคลากร ทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๔๙ค (๒) ให้เป็นไปตามที่กำหนดในกฎ ก.ค.ศ. โดยให้นำฎหมายว่าด้วยระเบียบข้าราชการพลเรือนในส่วนที่เกี่ยวขัองกับการกำหนดตำแหน่ง และการให้ได้รับเงินเดือนและเงินประจำตำแหน่งของข้าราชการพลเรือนสามัญมาใช้บังคับโดยอนุโลม

 

เพื่อประโยชน์ในการบริหารบุคคลของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ก.ค.ศ.อาจกำหนดตำแหน่งหรือเปลี่ยนตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาประเภทตำแหน่งผู้บริหารการศึกษาบางตำแหน่ง เป็นประเภทตำแหน่งบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา ๔๙ค.(๒) ก็ได้

 

มาตรา ๕๐ ให้ตำแหน่งข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ดังต่อไปนี้ เป็นตำแหน่งที่มีวิทฐานะ ได้แก่

 

ก.ตำแหน่งครู มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้

 

(๑) ครูชำนาญการ

(๒) ครูชำนาญการพิเศษ

(๓) ครูเชี่ยวชาญ

(๔) ครูเชี่ยวชาญพิเศษ

 

ข. ตำแหน่งผู้บริหารสถานศึกษา มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้

 

(๑) รองผู้อำนวยการชำนาญการ

(๒) รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ

ไ๓) รองอยู่อำนวยการเชี่ยวชาญ

(๔) ผู้อำนวยการชำนาญการ

(๕) ผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ

(๖) ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญ

(๗) ผู้อำนวยการเชี่ยวชาญพิเศษ

 

ค. ตำแหน่งผู้บริหารการศึกษา มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้

 

(๑) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาชำนาญการพิเศษ

(๒) รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ

(ต) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญ

(๔) ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชี่ยวชาญพิเศษ

(๕) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดชำนาญการพิเศษ

(6) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดเชี่ยวชาญ

(๗ ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดเชี่ยวชาญ

(๘] รู้อำนวยการสำนักงาน กศน. จังหวัดเชี่ยวชาญพิเศษ

(๙) รองผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กรุงเทพมหานครชำนาญการพิเศษ

(๑๐) รอผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กรุงเทพมหานครเชี่ยวชาญ

(๑๑) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน. กรุงเทพมหานครเชี่ยวชาญ 

(๑๒) ผู้อำนวยการสำนักงาน กศน.กรุงเทพมหานครเชี่ยวชาญพิเศษ

(๑๓) ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอชำนาญการพิเศษ 

(๑๔) ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนอำเภอเชี่ยวชาญ

(๑๕) รองผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอชนจังหวัดชำนาญการพิเศษ

(๑๖) รองผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดเชี่ยวชาญ

(๑๗) ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดเชี่ยวชาญ

(๑๘) ผู้อำนวยการสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดเชี่ยวชาญพิเศษ

 

ง ตำแหน่งศึกษานิเทศก็ มีวิทยฐานะ ดังต่อไปนี้

 

() ศึกษานิเทศก์ชำนาญการ

(๒) ศึกษานิเทศก็ชำนาญการพิเศษ

(ต) ศึกษานิทศก์เชี่ยวชาญ

(๔) ศึกษานิเทศก์เชี่ยวชาญพิเศษ

 

จ. ตำแหน่งที่เรียกชื่ออย่างยื่นตามที่ กก.ศ. กำหนดให้มีวิทยฐานะ

 

มาตรา ๕ต ให้ตำแหน่งคณาจารย์ดังต่อไปนี้ เป็นตำแหน่งทางวิขาการ

(ค) อาจารย์

(ข) ผู้ช่วยศาสตราจารย์

(ค) รองศาสตราจารย์

(ง) ศาสตราจารย์

 

#กดคลิก ติดตาม ส่งแชร์ข่าว edunewssiam  

ได้ที่นี่ https://www.facebook.com/edunewssiamfanpage